อาจารย์สอนเรื่องการเตรียมความพร้อมในเด็กให้เก่งคณิตศาสตร์นั้น จะต้องฝึกให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านสายตาก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าเด็กไม่สามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กก็จะมีปัญหาด้านการเรียนรู้กับคณิตศาสตร์ได้ หลักการสอนคณิตศาสตร์ของครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะต้องเข้าใจถึงพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก และขอบข่ายของหลักสูตรอย่างลึกซึ้งได้แล้ว ยังต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอย่างดีอีกด้วย
1 .สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2 .เปิดโอกาสให้เด็กรับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตัวเอง
3. มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4 .เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5 .ใช้วิธิการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติกรรมเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6 .ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7 .รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เกิดประโยชณ์
8 .ใช้วิธีสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
9 .ใช้วิธิให้เด็กมีสวนร่วมหรือปฎิบัติการณ์จริงที่เกี่ยวกับตัวเลข
10. วางแผนส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
11. บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับปรุง
12 .คาบหนึ่งควรสอนความคิดรวบยอดเดียว
13 .นำกระบวนการการเล่นจากง่ายไปยาก
14 .ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายให้เด็กเข้าใจ
วันพุธที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
หลังเลิกเรียน 27/11/51
-ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษา
การจัดหลักสูตรจะต้องมีความสมดุลและอาศัยครูที่มีวิชาความรู้ และมีความเข้าใจเกี่ยวกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย นั่นคือครูจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลำดับขั้นการพัฒนาการของเด็กกับกระบวนการสอนและเนื้อหาทางคณิตศาสตร์
-ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะดังต่อไปนี้
1. การนับ (counting)
2. ตัวเลข (Numeration)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซท (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
-เน้นกระบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด
-เน้นการเรียนรู้ภาและการใช้ภาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
-แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
-เสริมสร้างให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
-ส่งเสริมให้เกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
-เน้นให้เด็กเกืดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
-เปิดให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจ ปฏิบัติ รู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
การจัดหลักสูตรจะต้องมีความสมดุลและอาศัยครูที่มีวิชาความรู้ และมีความเข้าใจเกี่ยวกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย นั่นคือครูจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างลำดับขั้นการพัฒนาการของเด็กกับกระบวนการสอนและเนื้อหาทางคณิตศาสตร์
-ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะดังต่อไปนี้
1. การนับ (counting)
2. ตัวเลข (Numeration)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซท (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
มีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
-เน้นกระบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด
-เน้นการเรียนรู้ภาและการใช้ภาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
-แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆและสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
-เสริมสร้างให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
-ส่งเสริมให้เกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
-เน้นให้เด็กเกืดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน
-เปิดให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจ ปฏิบัติ รู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
วันนี้ได้มาทำบล็อคเพิ่มค่ะ
วันนี้มานั่งทำบล็อกค่ะ ได้ทั้งบทความ และงานวิจัยเลยค่ะ
เดี๋ยวจะพยายามหาและทำให้ได้มากกว่านี้ค่ะ
เดี๋ยวจะพยายามหาและทำให้ได้มากกว่านี้ค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
20/11/51 ทำเพิ่มเติม
วันนี้อาจารย์พูดถึง การเรียนรู้ของเด็ก
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญาจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ ที่เป็นลำดับขั้นพัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
และพูดถึงทฤษฎีของเพียเจย์ เด็กในช่วง0-2ปี จะมี
1.ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นกับการรับรู้และการกระทำ เด็กยึดตัวเองเป็นสำคัญ
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด เป็นขั้นพัฒนาการในช่วง2-7ปี ความคิดของเด็กวัยนี้ยังขึ้นอยู่กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุผลอย่างลึกซึ้ง
ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
ในการพัฒนาเด็กควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กและจัดประสบการณ์ให้เด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการนั้น
การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้
เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการแตกต่างกัน
ในการสอนควรใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญาจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ ที่เป็นลำดับขั้นพัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
และพูดถึงทฤษฎีของเพียเจย์ เด็กในช่วง0-2ปี จะมี
1.ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นกับการรับรู้และการกระทำ เด็กยึดตัวเองเป็นสำคัญ
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด เป็นขั้นพัฒนาการในช่วง2-7ปี ความคิดของเด็กวัยนี้ยังขึ้นอยู่กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุผลอย่างลึกซึ้ง
ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
ในการพัฒนาเด็กควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กและจัดประสบการณ์ให้เด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการนั้น
การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้
เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการแตกต่างกัน
ในการสอนควรใช้สื่อที่เป็นรูปธรรม
20/11/51 ทำเพิ่มเติม
วันนี้ก็ได้เข้ามาทำเพิ่ม นาฬิกาและปฏิทิน แต่ยังทำไม่คล่อง แต่ก็ดีที่มีเพื่อนช่วยสอนให้
วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)